วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552
" เหตุผลของการมีความรัก "
ทำไมคนเราต้องมีความรัก
ก็เพราะว่าเราทุกคนล้วนมีหัวใจ
ทำไมคนเราจึงต้องโหยหาความรักอยู่ตลอดเวลา
ก็เพราะเราต้องการใครสักคนมาช่วยเราดูแลหัวใจของเรา
ทำไมคนเราถึงไม่เคยพอกับความรัก
ก็เพราะว่าเราไม่ได้เกิดมาเพื่อรักใครคนเดียว
ทำไมคนบางคนถึงไม่เคยพบกับความรักสักที
ก็เพราะว่าเขาไม่เคยเปิดใจตัวเองให้ใคร
ทำไมคนบางคนไม่เคยเปิดใจตัวเองให้ใคร
ก็เพราะว่าเขาอาจจะกำลังรอใครสักคนอยู่
ทำไมคนบางคนถึงต้องอกหักอยู่บ่อย
ก็เพราะว่าเขาปล่อยใจตัวเองตกหลุมรักอยู่ตลอดเวลา
ไม่ต้องเสียใจที่เขาไม่รักเรา
เพราะเราและเขาอาจจะไม่ได้เกิดมาเพื่อรักกัน
ทำไมคนบางคนไม่เคยสมหวังกับความรัก
ก็เพราะว่าเขาอาจจะยังไม่เจอคู่แท้ของเขา
ทำไมคนบางคนยังไม่พบคู่แท้ของเขา
ก็เพราะว่าเขาอาจจะไม่เคยตามหาเลยก็ได้
ทำไมเราควรจะทำตัวเราให้ดูดีอยู่ตลอดเวลา
ก็เพราะว่าเราไม่รู้ว่าจะได้เจอคนที่ถูกใจเมื่อไร
ไม่ต้องเสียใจที่เรายังไม่เจอคนที่เรารัก
เพราะว่าเมื่อเราเจอเขาคนนั้นเมื่อไร
เราจะรู้ว่ามันคุ้มค่ามากแค่ไหนกับเวลาที่เรารอคอย
จงทะนุถนอมหัวใจของเราไว้ให้ดี
เพราะว่าเมื่อเราเจอคนที่ใช่ จะได้มอบมันให้เขาด้วยความภูมิใจ
อย่าปล่อยให้โชคชะตาลิขิตชีวิตเราทั้งหมด
แต่จงใช้มันเป็นเครื่องนำทางในการดำเนินชีวิต
โชคชะตาสามารถทำให้เราพบคนที่ถูกใจ
แต่ตัวเราเองเท่านั้นที่สามารถทำให้เขาคนนั้นรักเราได้
ทำไมคนเราต้องมีความรัก
ก็เพราะว่าเราทุกคนล้วนมีหัวใจ
ทำไมคนเราจึงต้องโหยหาความรักอยู่ตลอดเวลา
ก็เพราะเราต้องการใครสักคนมาช่วยเราดูแลหัวใจของเรา
ทำไมคนเราถึงไม่เคยพอกับความรัก
ก็เพราะว่าเราไม่ได้เกิดมาเพื่อรักใครคนเดียว
ทำไมคนบางคนถึงไม่เคยพบกับความรักสักที
ก็เพราะว่าเขาไม่เคยเปิดใจตัวเองให้ใคร
ทำไมคนบางคนไม่เคยเปิดใจตัวเองให้ใคร
ก็เพราะว่าเขาอาจจะกำลังรอใครสักคนอยู่
ทำไมคนบางคนถึงต้องอกหักอยู่บ่อย
ก็เพราะว่าเขาปล่อยใจตัวเองตกหลุมรักอยู่ตลอดเวลา
ไม่ต้องเสียใจที่เขาไม่รักเรา
เพราะเราและเขาอาจจะไม่ได้เกิดมาเพื่อรักกัน
ทำไมคนบางคนไม่เคยสมหวังกับความรัก
ก็เพราะว่าเขาอาจจะยังไม่เจอคู่แท้ของเขา
ทำไมคนบางคนยังไม่พบคู่แท้ของเขา
ก็เพราะว่าเขาอาจจะไม่เคยตามหาเลยก็ได้
ทำไมเราควรจะทำตัวเราให้ดูดีอยู่ตลอดเวลา
ก็เพราะว่าเราไม่รู้ว่าจะได้เจอคนที่ถูกใจเมื่อไร
ไม่ต้องเสียใจที่เรายังไม่เจอคนที่เรารัก
เพราะว่าเมื่อเราเจอเขาคนนั้นเมื่อไร
เราจะรู้ว่ามันคุ้มค่ามากแค่ไหนกับเวลาที่เรารอคอย
จงทะนุถนอมหัวใจของเราไว้ให้ดี
เพราะว่าเมื่อเราเจอคนที่ใช่ จะได้มอบมันให้เขาด้วยความภูมิใจ
อย่าปล่อยให้โชคชะตาลิขิตชีวิตเราทั้งหมด
แต่จงใช้มันเป็นเครื่องนำทางในการดำเนินชีวิต
โชคชะตาสามารถทำให้เราพบคนที่ถูกใจ
แต่ตัวเราเองเท่านั้นที่สามารถทำให้เขาคนนั้นรักเราได้
วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2552
งาน IT 52 ภาคเรียนที่ 2/2552
สัปดาห์ที่ 1
-สอบก่อนเรียน
-ออกไปอธิบายคำสั่ง FOR ในภาษาซีหน้าชั้นเรียน
-สร้างบล๊อกแต่ละรายวิชา
-ส่งชื่อบล๊อกของวิชาการโปรแกรมเชิงวัตถุ 1
-สอบก่อนเรียน
-ออกไปอธิบายคำสั่ง FOR ในภาษาซีหน้าชั้นเรียน
-สร้างบล๊อกแต่ละรายวิชา
-ส่งชื่อบล๊อกของวิชาการโปรแกรมเชิงวัตถุ 1
วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
ไข้หวัดใหญ่2009
ปัจจุบันโอกาสที่ไวรัสสามารถติดต่อจากคนสู่คนสูงเริ่มสูงมากและเริ่มมีการระบาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่อัตราเสี่ยงจากการรับประทานเนื้อสุกรและอาหารที่ประกอบจากเนื้อสุกรนั้นไม่มีโอกาสเลย หากเราพบผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้หวัด ควรสวมจะหน้ากากอนามัยคือเราควรจะพกหน้ากากอนามัยติดตัวไว้ตลอดเวลาและอีกอย่างหนึ่งก็คือควรหลีกเลี่ยงการไปในที่ชุมชนหรือสถานที่แออัด เพราะเราไม่สามารถรู้ได้ว่าคนไหนติดเชื้ออยู่ ไปพบแพทย์เมื่อเรารู้สึกว่ามีอาการเป็นไข้เพื่อได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ควรรักษาสุขภาพให้แข็งแรง โดยรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผัก ผลไม้ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ งดสูบบุหรี่ งดดื่มเหล้า ล้างมือบ่อยๆ เพื่อรักษาความสะอาด
อาการและการสังเกต
อาการป่วยของผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2009 นั้น จะไม่แตกต่างจากผู้ที่ป่วยด้วยโรคไข้หวัดทั่วๆ ไป ลักษณะจะคล้ายกับเป็นโรคไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้สูง ปวดเมื่อยตามร่างกาย ไอ มีน้ำมูก ต้องนำมาแยกเชื้อดูในห้องปฏิบัติการ เชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่มีการแพร่ติดต่อเช่นเดียวกับโรคไข้หวัดใหญ่ใน คนโดยทั่วไป เชื้อที่อยู่ในเสมหะ น้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วย แพร่ไปยังผู้อื่นโดยการไอหรือจามรดกันในระยะใกล้ชิด หรือติดจากมือ และสิ่งของที่มีเชื้อปนเปื้อนอยู่ และเชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางจมูก และตา เช่น การแคะจมูก การขยี้ตา ไม่ติดต่อจากการรับประทานเนื้อสุกร
การรักษา
องค์การอนามัยโลกออกมาเตือนว่าการฉีดวัคซีนป้องกัน ไข้หวัดใหญ่นั้นยังไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อไวรัสนี้ได้ เพราะว่าวัคซีนไข้หวัดใหญ่ยังไม่สามารถต้านเชื่อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ได้ในขณะนี้ แต่จากผลการทดสอบในห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์บ่งชี้ว่า ไวรัสสายพันธุ์ใหม่สามารถรักษาได้ด้วยยาทามิฟูล และยารีเลนซาเป็นยาปฏิชีวนะที่สามารถต้านไวรัสสายพันธุ์ใหม่ได้ในขณะนี้ แต่ต้องรับยาภายใน 48 ชั่วโมง เพราะมีโอกาสที่เชื้อไวรัสจะกลายพันธุ์ได้อีกในอนาคต
ระดับการระบาด
ระดับการระบาดของเชื้อโรค เป็นตัวเลขระดับการระบาดของเชื้อโรคสายพันธุ์ต่างๆที่มีขึ้นและเกิดการระบาดขึ้นบนโลก เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในประเทศไทยจากเหตุการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่สุกรสายพันธุ์ใหม่ พ.ศ. 2552 ซึ่งในปัจจุบันอยู่ในระดับที่ 4
การแบ่งจะมีอยู่ทั้งหมด 6 ระดับ โดย องค์การอนามัยโลก ดังต่อไปนี้
ระดับทั่วไประดับ 1
จะเป็นระดับที่ยังไม่พบเชื้อโรคในมนุษย์ หรืออาจจะมีเชื้อโรคดังกล่าวในสัตว์บางตัว แต่ความเสี่ยงที่จะระบาดสู่คนอยู่ใน
ระดับต่ำ
ระดับ 2 มีการระบาดอย่างชัดเจนในสัตว์ ยังไม่มีการระบาดในมนุษย์ แต่ความเสี่ยงที่จะระบาดสู่คนสูงขึ้น
ระดับเตือนภัย
ระดับ 3 จะเป็นระดับที่มีการพบการระบาดจากสัตว์สู่คน แต่ยังไม่พบการระบาดจากคนสู่คน
ระดับ 4 พบการระบาดจากคนสู่คน แต่เชื้อโรคยังไม่สามารถรับมือกับระบบภูมิต้านทานในร่างกายได้ดีนัก การติดโรคที่ยังอยู่ในระดับนี้จึงยากมาก(แต่ก็ติดโรคได้) ดังนั้น การระบาดในระดับนี้สามารถจำกัดไว้ในวงแคบได้
ระดับ 5 มีการระบาดในวงกว้างขึ้น เชื้อโรคสามารถรับมือกับระบบภูมิต้านทานในร่างกายได้ดีขึ้น แต่ก็ยังไม่สมบูรณ์ การติดโรคที่อยู่ในระดับนี้ง่ายกว่าระดับ 4 แต่ก็ยังจัดอยู่ในระดับที่ยาก จึงยังสามารถจำกัดวงการระบาดได้เช่นกัน
ระดับระบาด
ระดับ 6 เกิดการระบาดของเชื้อโรคทั่วโลก
วันพุธที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
#include
#include
main()
{
clrscr();
printf(" .\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" . .\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" . .\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" ........\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" . . .\n");
printf(" . .... . ....... .\n");
printf(" . . . . . . .\n");
printf(" . . . . ....... .\n");
printf(" ................................\n");
getch();
return 0;
}
#include
main()
{
clrscr();
printf(" .\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" . .\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" . .\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" ........\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\\.\n");
printf(" . . .\n");
printf(" . .... . ....... .\n");
printf(" . . . . . . .\n");
printf(" . . . . ....... .\n");
printf(" ................................\n");
getch();
return 0;
}
วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552
ตัวหนังสือ ในภาษาของคอม
Teeraphon
01000101.01010110.01010110.00100111.00010110.00000111.
01110110.11110110.11100110
Suepray
00110101.01010111.01010110.00000111.00100111.00010110.10010111
01000101.01010110.01010110.00100111.00010110.00000111.
01110110.11110110.11100110
Suepray
00110101.01010111.01010110.00000111.00100111.00010110.10010111
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ประวัติ ภาษา c
ประวัติภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่ำ ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำ ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ในด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็นภาษาระดับต่ำ เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงในระดับต่ำที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสองด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่ำทำให้ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทำให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้นได้เอง ทำให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีลักษณะเด่นพอสรุปได้ดังนี้
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรมโครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ
- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทำงานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็นสำคัญ
- มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทำงานเหมือนภาษาระดับต่ำ
- มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสำหรับการพัฒนา
- เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
- เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทำให้ป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการเขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้
จุดเด่นของภาษา[*]เป็นภาษาที่มีการกำหนดมาตรฐานสำหรับคอมพิวเตอร์ทุกรุ่นและระบบปฏิบัติการทุกชนิด ทำให้โครงสร้างทางภาษา ฟังก์ชั่นและไลบราลี (Library) ต่างๆ สามารถนำไปใช้ได้ทุกรุ่นและทุกระบบปฏิบัติการ[*]โปรแกรมที่เขียนออกมาจะมีขนาดเล็กและทำงานได้รวดเร็วเหมือนภาษาระดับต่ำ แต่เข้าใจง่ายเหมือนภาษาระดับสูง (ภาษาซีจัดอยู่ในภาษาระดับกลาง แต่หนังสือบางเล่มจะจัดภาษาซีอยู่ในภาษาระดับสูง แต่ผมว่าระดับกลางน่าจะเหมาะกว่า อิอิ)[*]มีโครงสร้างทางภาษาที่ดี และเครื่องหมายการดำเนินการ (Operators) มีประสิทธิภาพสูงและยืดหยุน (สังเกตุได้จาก x++,++x ที่งงกันไปพักนึง ฮ่าๆ)[*]ภาษา C สามารถเขียนเพื่อควบคุมฮาร์ดแวร์ได้ ซึ่งบางภาษามันทำไม่ได้เช่น ภาษา Basic[*]มีฟังก์ชั่นสำเร็จรูปไว้ให้เราใช้งานเยอะ!! ทำให้เราไม่ต้องเขียนเอง และหากว่า ฟังก์ชั่นที่มีมาให้มันไม่โดนใจ เราสามารถเขียนเองและเพิ่มเติมลงไปได้ หรืออาจจะแจกจ่ายให้เพื่อนๆ
ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่ำ ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำ ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ในด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็นภาษาระดับต่ำ เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงในระดับต่ำที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสองด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่ำทำให้ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทำให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้นได้เอง ทำให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร
ภาษาซีเป็นภาษาที่มีลักษณะเด่นพอสรุปได้ดังนี้
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์
- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรมโครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ
- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทำงานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็นสำคัญ
- มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทำงานเหมือนภาษาระดับต่ำ
- มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสำหรับการพัฒนา
- เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม
- เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทำให้ป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการเขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้
จุดเด่นของภาษา[*]เป็นภาษาที่มีการกำหนดมาตรฐานสำหรับคอมพิวเตอร์ทุกรุ่นและระบบปฏิบัติการทุกชนิด ทำให้โครงสร้างทางภาษา ฟังก์ชั่นและไลบราลี (Library) ต่างๆ สามารถนำไปใช้ได้ทุกรุ่นและทุกระบบปฏิบัติการ[*]โปรแกรมที่เขียนออกมาจะมีขนาดเล็กและทำงานได้รวดเร็วเหมือนภาษาระดับต่ำ แต่เข้าใจง่ายเหมือนภาษาระดับสูง (ภาษาซีจัดอยู่ในภาษาระดับกลาง แต่หนังสือบางเล่มจะจัดภาษาซีอยู่ในภาษาระดับสูง แต่ผมว่าระดับกลางน่าจะเหมาะกว่า อิอิ)[*]มีโครงสร้างทางภาษาที่ดี และเครื่องหมายการดำเนินการ (Operators) มีประสิทธิภาพสูงและยืดหยุน (สังเกตุได้จาก x++,++x ที่งงกันไปพักนึง ฮ่าๆ)[*]ภาษา C สามารถเขียนเพื่อควบคุมฮาร์ดแวร์ได้ ซึ่งบางภาษามันทำไม่ได้เช่น ภาษา Basic[*]มีฟังก์ชั่นสำเร็จรูปไว้ให้เราใช้งานเยอะ!! ทำให้เราไม่ต้องเขียนเอง และหากว่า ฟังก์ชั่นที่มีมาให้มันไม่โดนใจ เราสามารถเขียนเองและเพิ่มเติมลงไปได้ หรืออาจจะแจกจ่ายให้เพื่อนๆ
ตัวอย่างภาษา c
#include#includemain(){clrscr();cout<<"My name is teeraphon suepray \n";cout<<"Nick name max \n";cout<<"age 18 year old\n";cout<<"Address 25/88 T.banggrajwo A.Mueng Samutsakon 74000\n";cout<<"Institute Samutsongkhram Technical College\n";cout<<"Section Information Technorogy\n";cout<<"Father Name\n";cout<<"suraphon suepray\n";cout<<"Mother Name\n";cout<<"siraprapa simonggam\n";getch();return 0;}